วันอาทิตย์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2560

บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต ข้อ 2

บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
2.ต้องใช้ดำเนินการใดในการค้นหาผลลัพธ์ที่ไม่ต้องการให้ปรากฏคำที่ระบุไว้
ข้าพเจ้าได้วิเคราะห์แล้วว่า ตอบ เครื่องหมาย *

อ้างอิงข้อมูลจาก หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ของ สสวท

บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต ข้อ 1


บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
1.การใช้งานอินเทอร์เน็ตในลักษณะใดเป็นการเชื่อมต่อแบบไร้สาย
 ข้าพเจ้าได้วิเคราะห์แล้วว่า ตอบ  ไวไฟ

อ้างอิงข้อมูลจาก หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ของ สสวท

วันอาทิตย์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2560

จริยธรรมในโลกของข้อมูล เรื่อง ความเป็นส่วนตัว


จริยธรรมในโลกของข้อมูล เรื่อง ความเป็นส่วนตัว
    
    เมื่อข้อมูลปรากฏอยู่ในโลกออนไลน์มากขึ้น   ทำให้การรวบรวมข้อมูลการเข้าถึงการค้นหาและการแบ่งปันข้อมูลส่วนบุคคล เป็นเรื่องที่สามารถทำได้ง่ายและเร็วขึ้น  ทำให้ข้อมูลบางประเภทที่มีความเป็นส่วนตัวสูง เช่น เลขประจำตัวประชาชน วันเดือนปีเกิด หมายเลขโทรศัพท์มือถือ ข้อมูลประวัติการรักษา  อาจรั่วไหลไปสู่สาธารณะได้  บางครั้งข้อมูลส่วนตัวเหล่านี้อาจถูกนำไปใช้โดยผิดวัตถุประสงค์ของเจ้าของข้อมูล เช่น ข้อมูลหมายเลขโทรศัพท์มือถือซึ่งถูกเก็บไว้โดยสถานพยาบาล  อาจรั่วไหลไปสู่บริษัทที่มีการประชาสัมพันธ์การขายผ่าน  โทรศัพท์มือถืออาจทำให้เจ้าของหมายเลขโทรศัพท์นั้นถูกรบกวนโดยไม่ได้ตั้งใจ  
   ก่อนจะเผยแพร่ข้อมูลทุกครั้งต้องคำนึงถึงข้อมูลที่มีความเป็นส่วนตัว  ผลเสียจากการเผยแพร่ข้อมูลเหล่านี้ อาจย้อนกลับมาสร้างความเดือดร้อนให้กับตนเองหรือผู้ที่เกี่ยวข้องได้ในอนาคต เช่น  นักเรียนโพสต์รูปของตนเองและเพื่อนไว้ในเว็บไซต์เครือข่ายทางสังคม แต่เพื่อนของนักเรียนอาจได้รับผลกระทบจากรูปนั้นก็ได้  
   ในบางกรณีการไม่เปิดเผยข้อมูลอาจเปผ็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ได้ เช่น ในการปรึกษาเกี่ยวกับแพทย์ เรื่องความผิดปกติทางเพศหรือการเป็นโรคติดต่อร้ายแรง  หากต้องเปิดเผยข้อมูลจริงเหล่านี้  การใช้นามแฝงแทนจะเป็นวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการแลกเปลี่ยนข้อมูลแต่กรณีเหล่านี้จะไม่สามารถทำได้ในเว็บไซต์ที่กำหนดให้กรอกข้อมูล จริงเพื่อสมัครใช้บริการ
ขอบคุณรูปภาพจาก  ยงยุทธ  ชมไชย
ขอบคุณแหล่งข้อมูลจาก http://kanlayanee.ac.th/ict/2-5


วันอาทิตย์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2560

รู้จักกันด้วยชั่วโมงโค้ดของสุชาดา 5416



การเขียนโปรแกรมเป็นการเขียนที่ยาก แต่ถ้าเราตั้งใจฟังในการที่ครูสอนเราก็จะสามารถทำได้ และจะสนุกกับมันไปเอง ทำให้เราได้คิดได้ออกแบบในสิ่งที่เราต้องการ ได้เรียนรู้โค้ดใหม่ๆ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ และสามารถใช้เล่นเกมได้ในเวลาว่างๆ
ชื่อ นางสาว สุชาดา  สุริยันต์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 เลขที่ 16
แผนการเรียน วิทย์-คณิต
แนวทางการศึกษาต่อ ระดับอุดมศึกษา
การประยุกต์ใช้คือนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้  ใช้ในการศึกษาต่อการทำโปรแกรม เป็นการสร้างรายได้
คติประจำใจ  พอใจเท่าที่มี ยินดีเท่าที่ได้